◎ สาระธรรม

สังสารวัฏ การเวียนว่าย ตายเกิด ของ “กิเลส กรรม วิบาก”

“กิเลส กรรม วิบาก” หรือ วัฏฏะ 3 เป็นเรื่องสำคัญที่ควรจะรู้ มันเป็นทุกสิ่งทุกอย่างในสังสารวัฏ ว่าด้วยเรื่องของความเป็นเหตุ เป็นปัจจัย กล่าวคือ ไม่มีความบังเอิญ ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นมาโดยไม่มีเหตุหรือเกิดขึ้นมาลอย ๆ ฉะนั้นแล้วจงรู้ไว้ว่า ทุกสิ่งที่เราได้พบได้เจอ ได้ประสบล้วนแล้วแต่มีเหตุชักนำมันมาทั้งนั้น เพียงแต่เราอาจจะรู้หรือไม่รู้ อาจจะคาดเดาหรือไม่อาจคาดเดาได้ก็ตาม และผู้ที่ประสบผลนั้นก็คือผู้ที่สร้างเหตุนั้น

กล่าวคือ ใครก่อกรรมใดไว้ ไม่ว่าดีหรือชั่ว ผู้นั้นก็จะได้รับวิบาก(ผล) ที่ตนก่อไว้

ในเรื่องกิเลส กรรม วิบาก คือเรื่องที่แสดงให้เห็นกลไกของความเห็นจริงแห่งความทุกข์ที่มนุษย์และสัตว์โลกกำลังประสบอยู่ กล่าวคือ เพราะมีกิเลส เราจึงทำกรรม เพราะเราทำกรรม เราจึงได้รับวิบาก(ผลของกรรม)


รูปกาลจักร ตรงกลางวงของกาลจักรเป็นรูป ของหมู ไล่งับหางงู งูไล่งับหางไก่ ไก่ไล่งับหางหมู วนกันไปเป็นวงกลม
หมู หมายถึงกิเลส งูหมายถึงกรรม ไก่หมายถึงวิบาก
หมูกินทุกอย่างไม่เลือก เหมือนดังกิเลสคน ที่จับทุกอารมณ์ที่รับเข้ามาทางทวารทั้งหก แล้วคลุกเคล้ากับจิตหลอกล่อจิตให้วิ่งตาม
งู คือกรรม กรรม คือเหตุไม่ใช่ผล กรรม คือ การ ที่กระทำ มีเจตนาตั้งต้น ตั้งแต่ตั้งต้นทางใจ(มโนกรรม) แล้วมี กิริยา ตามมา กิริยานั้นอาจเป็น วาจา หรือ กาย ก็ได้
 

ต่อจากนั้น เมื่อได้รับวิบากในขณะที่ยังมีกิเลส ก็เป็นเหตุให้ทำกรรมต่อไปอีก เป็นเช่นนี้ไม่จบไม่สิ้น เว้นแต่ เมื่อเราไม่มีกิเลส หรือ รักษาศีล ฝึกสติ ภาวนา เราจะสร้างกรรม(ที่ไม่ดี) ได้น้อยลง และจะไม่สารต่อกรรมเก่า ๆ ให้มากขึ้น เป็นไปตามหลักที่ว่า “เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร”

ถ้าเข้าใจเรื่องกิเลส กรรม วิบาก อย่างดีแล้ว ก็จะไม่โทษใครเวลาพบกับความทุกข์ และจะใช้ชีวิตอย่างมีสติ ไม่ประชดชีวิตหรือกลายเป็นคนไม่ดีเพราะเจอกับความเร็วร้ายในชีวิต

ขอให้เจริญในธรรม…

admin

Recent Posts

จากความเชื่อ “เปรต” ผีที่หิวโหย 12 ตระกูล 21 จำพวก

เปรต "Preta" หมายถึงผี ตามความเชื่อในหลายศาสนาทั้ง ศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ และศาสนาเชน ตามความเชื่อนั้น เปรตเป็นผีได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัสกว่าเมื่อครั้งเป็นมนุษย์มาก โดยต้องทรมานกับความหิวโหยและความเจ็บปวดทางกาย ความเชื่อเรื่องเปรตมีต้นกำเนิดมาจากพิธีกรรมทางศาสนาในประเทศอินเดียตั้งแต่ยุคโบราณ และเริ่มแพร่กระจายสู่สังคมในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออก คำว่า "Preta"… อ่านเพิ่มเติม..

2 weeks ago

เชื่อหรือไม่? ในอดีตประเทศไทยเคยมี ‘กระทรวงเวทมนตร์’

เชื่อหรือไม่? ว่าประเทศไทยในอดีตนั้นเคยมี ‘กระทรวงเวทมนตร์’ แต่ใช้ในชื่อว่า ‘กระทรวงแพทยาคม’ หรือบางบันทึกเรียกว่า ‘ศาลกระทรวงแพทยา’ ซึ่งเป็นกระทรวงที่เกี่ยวกับสอบสวนพิจารณาโทษของผู้กระทำผิดเกี่ยวกับการกระทำทาง ’ไสยศาสตร์’ โดยเฉพาะ เนื่องจากในสมัยนั้น ไม่ว่าชนชั้นใดก็ต่างเชื่อในเรื่องของ ไสยศาสตร์ กันทั้งนั้น ไม่ว่าจะเป็นชนชั้นสูง… อ่านเพิ่มเติม..

1 month ago

ทำไมเด็กถึงติดหมอนเน่า ผ้าห่มเน่า หรือตุ๊กตาเก่าๆ 🧸💕

ทำไมเด็กถึงติดหมอนเน่า ผ้าห่มเน่า หรือตุ๊กตาเก่าๆ 🧸💕 เคยสังเกตไหมว่าเด็กน้อยมักมีของชิ้นพิเศษที่พวกเขาพกติดตัวไม่ห่าง เช่น ตุ๊กตาหมี หมอน หรือผ้าห่มเก่าๆ ซึ่งเราอาจเรียกมันว่า "หมอนเน่า" "หมีเน่า" แต่สำหรับเด็กแล้ว สิ่งเหล่านี้คือความสบายใจในโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา! 😌💫… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

ตำรวจไซเบอร์ แนะนำ 5 แอปฯเช็คน้ำท่วมและสภาพอากาศ

🚨ตำรวจไซเบอร์ แนะนำ 5 แอปฯเช็คน้ำท่วมและสภาพอากาศ 🌂 ช่วงนี้ประเทศไทยบางพื้นที่ฝนตกหนักมาก เกิดน้ำท่วมขัง น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่ง เพื่อเป็นการป้องกันภัยให้ทันท่วงที ตำรวจไซเบอร์ขอแนะนำ 5 แอปพลิเคชันเช็กสภาพอากาศและสถานการณ์น้ำ เพื่อเป็นตัวช่วยวางแผนการเดินทางและจัดการความเสี่ยงได้ทันเวลา ⚠️เอาตัวรอดจากน้ำท่วม… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

ยืนยันแล้ว! ดื่มกาแฟดำหลังอาหาร ลดการดูดซึมแคลเซียมและธาตุเหล็ก

ดื่มกาแฟดำหลังอาหาร ลดการดูดซึมแคลเซียมและธาตุเหล็ก! กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ยืนยันแล้ว!! ดื่มกาแฟดำหลังอาหาร ลดการดูดซึมแคลเซียมและธาตุเหล็ก จริง เพราะฉะนั้นควรระวัง หากจะดื่มกาแฟดำแต่กินอาหารเสริมแคลเซียมและธาตุเหล็กควรเว้นระยะห่าง อย่าดื่มต่อกันทันที ตามที่มีข่าวสารในสื่อต่าง ๆ เรื่อง ดื่มกาแฟดำหลังอาหาร… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

เปิด 5 เคล็ดลับ “ดื่มน้ำอย่างไรให้เป็นยา” ตามหลักอายุรเวท

เปิด 5 เคล็ดลับ วิธีการดื่มน้ำอย่างไร ให้เป็นยาดีต่อร่างกาย ตามหลักอายุรเวท อายุรเวท (ศาสตร์แห่งชีวิตในภาษาสันสกฤต) เป็นการแพทย์แผนโบราณของอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดความสกปรกออกจากร่างกาย ลดอาการของโรค เพิ่มภูมิคุ้มกันต่อโรค คลายความกังวล และเพิ่มความสมดุลในชีวิต แนวคิดหลักของอายุรเวทเชื่อว่า… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

This website uses cookies.