โรคกระเพาะอาหาร กรดไหลย้อน แก้ด้วยกล้วยดิบ!!

กล้วยน้ำว้า รักษาโรคกระเพาะ ผู้ที่มีภาวะกรดไหลย้อนจะรู้สึกจุกเสียดบริเวณใต้ลิ้นปี่ ปวดแสบปวดร้อนบริเวณอกบ่อยครั้ง มีอาการจุกเสียดแน่นคล้ายอาหารไม่ย่อย เรอบ่อย คลื่นไส้ อาจมีน้ำรสเปรี้ยวหรือขมไหลย้อนขึ้นมาในปากและคอ ไปจนถึงกลืนอาหารได้ลำบาก

 

ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บแสบ แน่นหน้าอก รู้สึกมีก้อนอยู่ในคอ กลืนลำบาก หรือกลืนแล้วเจ็บ เจ็บคอหรือแสบลิ้นเรื้อรัง หากใครที่เป็นอยู่หรืเคยเป็นต้องรู้เลยว่ามันทรมาณขนาดไหน วันนี้เราเลยมีเคล็ดลับดีๆ จากเพจเฟสบุ๊ค กล้วยเบรคแตก ที่มียาดีจากกล้วย ในการรักษาโรคกรดไหลย้อน

กล้วยน้ำว้าดิบรักษาโรคกระเพาะอาหาร โรคกรดไหลย้อน

สรรพคุณและวิธีใช้

1. หั่นผลกล้วยดิบเป็นชิ้นบางๆ ผึ่งแดดให้แห้ง และบดให้ละเอียด จนเป็นแป้ง ใส่ขวดโหลไว้ เวลาปวดท้องเนื่องจากโรคกระเพาะอาหาร เอาผงกล้วยน้ำว้า ๑-๒ ช้อนโต๊ะ ใส่ลงไปในถ้วย และเติมน้ำผึ้งแท้ ๑ ช้อนโต๊ะผสมและคนให้ทั่ว กินวันละ ๔ ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน

2. ใช้เนื้อกล้วยห่ามกินสด หรือใช้ผงกล้วยน้ำว้าดิบ กินรักษาอาการท้องเดิน

  • หั่นเป็นชิ้นๆนำมาผึ่งแดด
  • บดเป็นผงละเอียดๆ
  • เสร็จเรียยร้อยพร้อมทาน..เป็นผงแก้โรคกระเพราะอาหาร หรือกรดไหลย้อน หรือผสมน้ำผึ้งเพื่อให้ทานได้ง่าย แต่บางทีก็อาจจะใส่ในแคปชูลเพื่อทานได้ง่ายมากยิ่งขึ้นและอีกอย่างโรคกรดไหลย้อนนั้นอาจไม่สามารถรักษาให้หายสนิทได้ แต่เราสามารถควบคุมอาการให้ดีขึ้นได้ ด้วยการปรับพฤติกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดกรดเกินในกระเพาะอาหาร ด้วยวิธีการต่างๆเหล่านี้ เชื่อว่าคุณนั้นสามารถรับมือกับโรคกรดไหลย้อนได้สบายมาก

กล้วยน้ำว้าไม่ได้มีดีแค่เฉพาะบำรุงร่างกายเพียงเท่านั้น หากแต่ยังมีส่วนช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ ช่วยลดอาการหงุดหงิดที่อาจเกิดขึ้นในยามเช้าโดยไม่มีสาเหตุ ลดอาการหงุดหงิดในสตรีที่อยู่ในช่วงวันนั้นของเดือน รักษาโรคซึมเศร้า

admin

Recent Posts

ผักหวานป่า อาหารสุขภาพ คุณค่าทางโภชนาการสูง

ยอดผักหวานสีเขียวอ่อนเจือเหลืองเวลาถูกแสงแดดส่องผ่านจะมีสีทองสวย ผักหวานป่า หรือที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Melientha suavis Pierre เป็นพืชในวงศ์ Opiliaceae มีลักษณะเป็นไม้ยืนต้น อายุยืน ขนาดกลางต้นที่โตเต็มที่อาจสูงถึง 13 เมดรที่พบโดยทั่วไปมักมีลักษณะเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก หรือเป็นไม้พุ่ม เนื่องจากมีการหักกิ่งเด็ดยอดเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิ่งและยอดอ่อนซึ่งเป็นส่วนที่ใช้บริโภค… อ่านเพิ่มเติม..

4 weeks ago

เพิ่มวันหยุดอีก 3 วัน ปี 68-69 เพื่อให้เป็นวันหยุดต่อเนื่อง 4 และ 5 วัน

ปี 68-69 เพิ่มวันหยุดราชการกรณีพิเศษอีก 3 วัน เพื่อให้เป็นวันหยุดต่อเนื่อง 4 และ 5 วัน ในช่วงวันฟันหลอ ให้เป็นวันหยุดยาว ในเดือนมิถุนายน 2568 และเดือนสิงหาคม… อ่านเพิ่มเติม..

1 month ago

คืบหน้า การเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2568

ความคืบหน้าของการเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐรอบใหม่นั้น สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กำลังอยู่ในระหว่างการทบทวนเกณฑ์คุณสมบัติผู้สมัครบัตรใหม่ ซึ่งคาดว่าจะสรุปได้ในต้นเดือนมีนาคม 2568 เพื่อพิจารณาข้อสรุปเกณฑ์บัตรสวัสดิการใหม่ เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) เพื่อขออนุมัติต่อไป ก่อนที่การเปิดลงทะเบียนในช่วงสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ตามที่ ครม.ได้เห็นชอบตามไทม์ไลน์ ทั้งนี้ ช่องทาง… อ่านเพิ่มเติม..

1 month ago

ปฏิทินวันพระ พ.ศ. 2568/2025 (ปีมะโรง – ปีมะเส็ง)

วันพระ หรือเรียกอีกอย่างว่า วันธรรมสวนะ อันได้แก่วันถือศีลฟังธรรม (ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) โดยปกติ ในเดือนหนึ่ง ๆ จะมีวันพระ 4 วัน ตรงกับวันขึ้น 8… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

สูตรก่อนนอน ช่วยให้หลับสนิท ตื่นมาสดชื่น

10-3-2-1-0 สูตรก่อนนอน ที่จะช่วยให้ตื่นมาสดชื่น โดยการเอาชนะใจของตนเองเป็นหลัก การนอนหลับผักผ่อนไม่เพียงพอมีความเสี่ยงต่อภูมิต้านทานลดลง เป็นโรคเบาหวาน โรคหัวใจ แถมยังอาจส่งผลให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติจนโหยอาหารและอ้วนง่ายขึ้น วิธีการนี้จะช่วยให้สามารถเข้านอนได้ตรงเวลา นอนหลับสนิท และตื่นเช้าวันรุ่งขึ้นด้วยความแจ่มใสอย่างคนพักผ่อนเต็มที่และพร้อมสำหรับการทำงานในแต่ละวัน มาติดตามกันเลยว่าวิธี 10-3-2-1-0 จะมีอะไรบ้าง... 10… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

10 จังหวัดที่มี วัด เยอะที่สุดในประเทศไทย

พุทธศาสนาเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 หรือประมาณ 250 ปีก่อนคริสตกาล ผ่านการเผยแผ่ธรรมของพระสมณทูตจากอินเดีย ภายใต้การสนับสนุนของพระเจ้าอโศกมหาราช พุทธศาสนาในประเทศไทยจึงไม่เพียงแต่เป็นศาสนาเท่านั้น แต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและชีวิตประจำวันของคนไทยอีกด้วย นิกายที่นิยมนับถือในประเทศไทยคือ นิกายเถรวาท (Theravada) ซึ่งเป็นนิกายที่ยึดถือพระไตรปิฎกเป็นหลักในการปฏิบัติและศึกษา นิกายนี้เน้นการบรรลุธรรมผ่านการปฏิบัติตนตามพระธรรมวินัย วัดและการปฏิบัติศาสนกิจ:ในประเทศไทยมีจำนวนมาก… อ่านเพิ่มเติม..

2 months ago

This website uses cookies.