ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ รายงานผลข้างเคียงจากการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 “ซิโนฟาร์ม” มีผู้เสียชีวิตสะสม 13 ราย จำนวนผู้รับวัคซีนทั้งหมด 8,208,097 โดส
24 กันยายน 2564 ศูนย์ข้อมูลราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ รายงาน ผลข้างเคียงการฉีด “วัคซีนซิโนฟาร์ม” จากผู้รับวัคซีน จำนวน 8,208,097 โดส
ผู้รับวัคซีน เข็มที่ 1 จำนวน 5,160,920 พบผู้มีอาการไม่พึงประสงค์ ดังนี้
day 0 (ขณะสังเกตอาการ) 0.49% = 25,246 ราย
day 1 (หลังฉีดวัคซีน 1 วัน) 0.60% = 31,096 ราย
day 7 (หลังฉีดวัคซีน 7 วัน) 0.17% = 8,973 ราย
อาการไม่พึงประสงค์ ที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่
– ปวดศีรษะ 0.48%
– ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 0.37%
– เหนื่อย เพลีย 0.34%
– ปวดบวมแดงบริเวณที่ฉีด 0.33%
– อาการไข้ 0.32%
ผู้รับวัคซีน เข็มที่ 2 จำนวน 3,047,177 ราย พบผู้มีอาการไม่พึงประสงค์ ดังนี้
day 0 (ขณะสังเกตอาการ) 0.06% = 1,856 ราย
day 1 (หลังฉีดวัคซีน 1 วัน) 0.20% = 6,029 ราย
day 7 (หลังฉีดวัคซีน 7 วัน) 0.11% = 3,393 ราย
อาการไม่พึงประสงค์ ที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่
– ปวดศีรษะ 0.17%
– ปวดบวมแดงบริเวณที่ฉีด 0.15%
– ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 0.14%
– เหนื่อย เพลีย 0.12%
– อาการไข้ 0.12
* สัดส่วนของผู้รายงานอาการข้างเคียงต่อจำนวนเข็มที่ฉีด
ผู้เสียชีวิตสะสม 13 ราย พบว่า
– เสียชีวิตจากติดเชื้อโควิด 2 ราย
– กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 2 ราย
– หัวใจล้มเหลว 2 ราย
– โรคประจำตัว 4 ราย
– HIV ที่ไม่ได้รับการรักษา 1 ราย
– หัวใจเต้นผิดจังหวะ 1 ราย
– เส้นเลือดสมองแตก 1 ราย
ผู้มีอาการไม่พึงประสงค์รุนแรง 12 ราย สาเหตุจาก
– ภาวะเส้นเลือดในสมองตีบจากโรคประจำตัว 4 ราย
– ภาวะเส้นเลือดสมองแตก 4 ราย
– ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 1 ราย
– ภาวะแพ้วัคซีนรุนแรง 3 ราย
**ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ได้รับรายงาน (ข้อมูล ณ วันที่ 22 กันยายน 2564)
เปิดผลข้างเคียง “ฉีดวัคซีนซิโนฟาร์ม” พบมากสุด ปวดศีรีษะ
ยอดผักหวานสีเขียวอ่อนเจือเหลืองเวลาถูกแสงแดดส่องผ่านจะมีสีทองสวย ผักหวานป่า หรือที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Melientha suavis Pierre เป็นพืชในวงศ์ Opiliaceae มีลักษณะเป็นไม้ยืนต้น อายุยืน ขนาดกลางต้นที่โตเต็มที่อาจสูงถึง 13 เมดรที่พบโดยทั่วไปมักมีลักษณะเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก หรือเป็นไม้พุ่ม เนื่องจากมีการหักกิ่งเด็ดยอดเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิ่งและยอดอ่อนซึ่งเป็นส่วนที่ใช้บริโภค… อ่านเพิ่มเติม..
ปี 68-69 เพิ่มวันหยุดราชการกรณีพิเศษอีก 3 วัน เพื่อให้เป็นวันหยุดต่อเนื่อง 4 และ 5 วัน ในช่วงวันฟันหลอ ให้เป็นวันหยุดยาว ในเดือนมิถุนายน 2568 และเดือนสิงหาคม… อ่านเพิ่มเติม..
ความคืบหน้าของการเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐรอบใหม่นั้น สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กำลังอยู่ในระหว่างการทบทวนเกณฑ์คุณสมบัติผู้สมัครบัตรใหม่ ซึ่งคาดว่าจะสรุปได้ในต้นเดือนมีนาคม 2568 เพื่อพิจารณาข้อสรุปเกณฑ์บัตรสวัสดิการใหม่ เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) เพื่อขออนุมัติต่อไป ก่อนที่การเปิดลงทะเบียนในช่วงสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ตามที่ ครม.ได้เห็นชอบตามไทม์ไลน์ ทั้งนี้ ช่องทาง… อ่านเพิ่มเติม..
วันพระ หรือเรียกอีกอย่างว่า วันธรรมสวนะ อันได้แก่วันถือศีลฟังธรรม (ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) โดยปกติ ในเดือนหนึ่ง ๆ จะมีวันพระ 4 วัน ตรงกับวันขึ้น 8… อ่านเพิ่มเติม..
10-3-2-1-0 สูตรก่อนนอน ที่จะช่วยให้ตื่นมาสดชื่น โดยการเอาชนะใจของตนเองเป็นหลัก การนอนหลับผักผ่อนไม่เพียงพอมีความเสี่ยงต่อภูมิต้านทานลดลง เป็นโรคเบาหวาน โรคหัวใจ แถมยังอาจส่งผลให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติจนโหยอาหารและอ้วนง่ายขึ้น วิธีการนี้จะช่วยให้สามารถเข้านอนได้ตรงเวลา นอนหลับสนิท และตื่นเช้าวันรุ่งขึ้นด้วยความแจ่มใสอย่างคนพักผ่อนเต็มที่และพร้อมสำหรับการทำงานในแต่ละวัน มาติดตามกันเลยว่าวิธี 10-3-2-1-0 จะมีอะไรบ้าง... 10… อ่านเพิ่มเติม..
พุทธศาสนาเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 หรือประมาณ 250 ปีก่อนคริสตกาล ผ่านการเผยแผ่ธรรมของพระสมณทูตจากอินเดีย ภายใต้การสนับสนุนของพระเจ้าอโศกมหาราช พุทธศาสนาในประเทศไทยจึงไม่เพียงแต่เป็นศาสนาเท่านั้น แต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและชีวิตประจำวันของคนไทยอีกด้วย นิกายที่นิยมนับถือในประเทศไทยคือ นิกายเถรวาท (Theravada) ซึ่งเป็นนิกายที่ยึดถือพระไตรปิฎกเป็นหลักในการปฏิบัติและศึกษา นิกายนี้เน้นการบรรลุธรรมผ่านการปฏิบัติตนตามพระธรรมวินัย วัดและการปฏิบัติศาสนกิจ:ในประเทศไทยมีจำนวนมาก… อ่านเพิ่มเติม..
This website uses cookies.