วันพระ หมายถึง วันที่พระพุทธ ศาสนากำหนด ไว้ว่าเป็นวันฟังธรรม ตามปกติ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วันธรรมสวนะ แปลว่า “วันฟังธรรม” วันพระยังเป็นวันรักษาอุโบสถศีล ของชาวพุทธอีกด้วย
วันพระนั้นกำหนด ทางจันทรคติ คือ วันขึ้น ๘ ค่ำ ขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๘ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ หรือ แรม ๑๔ ค่ำ ในเดือนคี่ สรุปว่า ในเดือนหนึ่งทาง จันทรคติจะมีวันพระ รวม ๔ วัน เป็นวัน ข้างขึ้น ๒ วัน ข้างแรม ๒ วัน คือ ขึ้น ๘ ค่ำ เป็น วันพระต้นเดือน ขึ้น ๑๕ ค่ำ เป็น วันพระกลางเดือน แรม ๘ ค่ำ เป็น วันพระปลายเดือน แรม ๑๕ ค่ำ เป็น วันพระสิ้นเดือน แต่ถ้า เป็นเดือนคี่ คือเดือนอ้าย เดือน ๓ เดือน ๕ เดือน ๗ เดือน ๙ เดือน ๑๑ วันพระสิ้นเดือน จะเป็นวันแรม ๑๔ ค่ำ
ในเดือนหนึ่งมีวันพระ ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ วันแรม ๘ ค่ำ และ ๑๕ ค่ำ เฉพาะวันขึ้น ๑๕ ค่ำ และแรม ๑๕ ค่ำ ถือเป็นวันที่ พระภิกษุสงฆ์ จะต้องฟัง พระปาติโมกข์ ตาม พระวินัยบัญญัติ เพื่อให้ง่ายต่อการจำ ท่านจึงเรียกวัน ขึ้น ๑๕ ค่ำ แรม ๑๕ ค่ำ ว่า วันพระใหญ่ เมื่อถึง วันพระใหญ่ดังกล่าว ก็เป็นที่ทราบกันว่า พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องประชุมพร้อมกัน เพื่อฟัง พระปาติโมกข์ คำว่า วันพระใหญ่ จึงถูกเรียกขาน กันต่อมาจนถึงทุกวันนี้
สวดมนต์ก่อนนอน “เสริมสิริมงคล” สวดเพื่อช่วยเสริมดวง เสริมบุญ-บารมี ชีวิตดีเจริญก้าวหน้า หมั่นทำแต่กรรมดีนั้นจะทำให้ชีวิตดีขึ้นจริงๆ
๑. บทนะโม ๓ จบ, บทสรรเสริญคุณพระรัตนตรัยเชื่อกันว่าการสวดมนต์บทนี้จะให้อานิสงส์ในทุกๆ เรื่อง
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชา จะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา เทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติสวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติฯสุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
๒. บทสวดชยันโต เชื่อกันว่า หากสวดมนต์บทนี้เป็นประจำทุกวัน จะมีแต่ชัยชนะทุกประการ เรียนหนังสือก็เกิดปัญญา มีแต่ความเก่งกล้าสามารถ คิดสิ่งใดที่ดีเป็นมงคล ก็จะสมความปรารถนาทุกประการ
ชยันโต โพธิยา มูเล สักยานังนันทิวัฑฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเลอะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลังสุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจารีสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณังมโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัดเถ ปะทักขิเณฯ
๓. บทสวดชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) เชื่อกันว่าเป็นบทสวดมีอานิสงส์มาก นำสิริมงคลมาให้
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารังทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯมาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขังขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯนาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตังเมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯอุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตังอิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯกัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌสันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯสัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตังปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯนันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโตอิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมังวิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานังญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯเอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันทีหิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ
๔. บทบารมี ๓๐ ทัศเชื่อกันว่าการสวดมนต์บทนี้ จะช่วยเพิ่มบุญบารมีมากมายมหาศาลหาค่ามิได้
ทานะ ปาระมี สัมปันโน, ทานะ อุปะปารมี สัมปันโน, ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาสีละ ปาระมี สัมปันโน, สีละ อุปะปารมี สัมปันโน, สีละ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาเนกขัมมะ ปาระมี สัมปันโน, เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปันโน, เนกขัมมะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาปัญญา ปาระมี สัมปันโน, ปัญญา อุปะปารมี สัมปันโน, ปัญญา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาวิริยะ ปาระมี สัมปันโน, วิริยะ อุปะปารมี สัมปันโน, วิริยะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาขันตี ปาระมี สัมปันโน, ขันตี อุปะปารมี สัมปันโน, ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาสัจจะ ปาระมี สัมปันโน, สัจจะ อุปะปารมี สัมปันโน, สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาอะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปันโน, อะธิฏฐานะ อุปะปารมี สัมปันโน, อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาเมตตา ปาระมี สัมปันโน, เมตตา อุปะปารมี สัมปันโน, เมตตา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาอุเปกขา ปาระมี สัมปันโน, อุเปกขา อุปะปารมี สัมปันโน, อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาทะสะ ปาระมี สัมปันโน, ทะสะ อุปะปารมี สัมปันโน, ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน, อิติปิ โส ภะคะวาพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหัง
๕. บทโมรปริตรเชื่อกันว่าการสวดมนต์บทนี้ จะช่วยเสริมให้ชีวิตมีความแคล้วคลาดปลอดภัย
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชาหะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโสตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสังตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสังเย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเมเต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุนะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยานะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยาอิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนาฯอะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชาหะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโสตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสังตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติงเย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเมเต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุนะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยานะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยาอิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติฯ
นอกจากนี้ยังมีบทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มนต์บทแรกในพระพุทธศาสนาที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแก้ปัญจวัคคีย์ ใครสวดประจำจะทำให้เป็นสิริมงคล เป็นที่รักของมนุษย์และเทวดา นำมาชึ่งความเจริญรุ่งเรืองสมปรารถนา ป้องกันภัยพาล
ความคืบหน้าของการเปิดลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐรอบใหม่นั้น สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) กำลังอยู่ในระหว่างการทบทวนเกณฑ์คุณสมบัติผู้สมัครบัตรใหม่ ซึ่งคาดว่าจะสรุปได้ในต้นเดือนมีนาคม 2568 เพื่อพิจารณาข้อสรุปเกณฑ์บัตรสวัสดิการใหม่ เพื่อเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) เพื่อขออนุมัติต่อไป ก่อนที่การเปิดลงทะเบียนในช่วงสิ้นเดือนมีนาคม 2568 ตามที่ ครม.ได้เห็นชอบตามไทม์ไลน์ ทั้งนี้ ช่องทาง… อ่านเพิ่มเติม..
วันพระ หรือเรียกอีกอย่างว่า วันธรรมสวนะ อันได้แก่วันถือศีลฟังธรรม (ธรรมสวนะ หมายถึง การฟังธรรม) โดยปกติ ในเดือนหนึ่ง ๆ จะมีวันพระ 4 วัน ตรงกับวันขึ้น 8… อ่านเพิ่มเติม..
10-3-2-1-0 สูตรก่อนนอน ที่จะช่วยให้ตื่นมาสดชื่น โดยการเอาชนะใจของตนเองเป็นหลัก การนอนหลับผักผ่อนไม่เพียงพอมีความเสี่ยงต่อภูมิต้านทานลดลง เป็นโรคเบาหวาน โรคหัวใจ แถมยังอาจส่งผลให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนผิดปกติจนโหยอาหารและอ้วนง่ายขึ้น วิธีการนี้จะช่วยให้สามารถเข้านอนได้ตรงเวลา นอนหลับสนิท และตื่นเช้าวันรุ่งขึ้นด้วยความแจ่มใสอย่างคนพักผ่อนเต็มที่และพร้อมสำหรับการทำงานในแต่ละวัน มาติดตามกันเลยว่าวิธี 10-3-2-1-0 จะมีอะไรบ้าง... 10… อ่านเพิ่มเติม..
พุทธศาสนาเริ่มเข้ามาในประเทศไทยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 หรือประมาณ 250 ปีก่อนคริสตกาล ผ่านการเผยแผ่ธรรมของพระสมณทูตจากอินเดีย ภายใต้การสนับสนุนของพระเจ้าอโศกมหาราช พุทธศาสนาในประเทศไทยจึงไม่เพียงแต่เป็นศาสนาเท่านั้น แต่ยังเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและชีวิตประจำวันของคนไทยอีกด้วย นิกายที่นิยมนับถือในประเทศไทยคือ นิกายเถรวาท (Theravada) ซึ่งเป็นนิกายที่ยึดถือพระไตรปิฎกเป็นหลักในการปฏิบัติและศึกษา นิกายนี้เน้นการบรรลุธรรมผ่านการปฏิบัติตนตามพระธรรมวินัย วัดและการปฏิบัติศาสนกิจ:ในประเทศไทยมีจำนวนมาก… อ่านเพิ่มเติม..
เปิดผลสำรวจผักและผลไม้ทั้งหมด 15 ชนิด ที่มีสารตกค้างเกินค่ามาตรฐาน จากห้างสรรพสินค้า 5 แห่ง ตลาดสด 12 จังหวัด ในช่วงต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมาพบ "กะเพรา" มีสารพิษตกค้างมากสุด 94% รองลงมา… อ่านเพิ่มเติม..
การล้างพิษ (Detox) เป็นกระบวนการที่ช่วยกำจัดสารพิษหรือสิ่งสกปรกที่สะสมในร่างกายออกไป อาหารจัดได้ว่าเป็นยาที่ดีที่สุด อาหารบางประเภทสามารถช่วยในกระบวนการนี้ได้ดี โดยมีคุณสมบัติในการขับสารพิษออกจากร่างกาย และช่วยให้ร่างกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ต่อไปนี้คือ 10 อาหารที่ช่วยในการล้างพิษ: 1. มะนาว มะนาวมีสารต้านอนุมูลอิสระ และวิตามินซีที่ช่วยกระตุ้นการทำงานของตับ ซึ่งเป็นอวัยวะที่สำคัญในการขับสารพิษออกจากร่างกาย… อ่านเพิ่มเติม..
This website uses cookies.